วันพุธที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

e-Journals ;)



          รูปแบบการจัดทำวารสารในปัจจุบัน


                1.วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์
                2.วารสารในรูปแบบวัสดุย่อส่วน
                3.วารสารในรูปแบบฐานข้อมูง CD- Rom
                4.วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์

                ปัจจุบันวารสารในรูปแบบที่ 3 หาได้ยาก เพราะในรูปแบบที่ 4 สามารถทดแทนได้ทั้งหมด

                ชนิดของไฟล์ที่ใช้ในการทำ e-Journals ได้แก่ : PDF, ABS, Scan-.trif .gif, HTML

                ประเภทของ e-Journals

                1.ทำซ้ำฉบับสิ่งพิมพ์ Electronics version of journals.
                   : สำนักพิมพ์ทำวารสารแบบสิ่งพิมพ์ แล้วจัดทำวารสารฉบับเดิมเป็นแบบ pdf โดยผ่านการ Scan
                2. ทำเป็นดิจิทัล Born-digital titles.
                    : จัดทำขึ้นใหม่เป็นดิจิทัล เช่นวารสารในกลุ่มของ OA ถือเป็นแบบ Born-digital ทั้งหมด


                วิธีการจัดทำ e-Journals

                - การแสกน (Scanned Journals) : แสกนจากฉบับสิ่งพิมพ์
                - จัดทำโดยการพิมพ์ (e-Journals from print production)
                - วารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Journal format)
               

Implementation of e-books :o

 

           Implementation of e-books
           
                การเข้าถึง (Access)

                1. Downloadable e-books
                    : มีทั้งแบบที่เป็นการค้าและไม่เป็นการค้า
                2. Dedicated e-books reader
                    : ผู้ใช้จะสามารถอ่าน e-books ได้จะต้องเป็นสมาชิกของผู้สร้าง เพราะต้องมีการจ่ายค่าบำรุงรักษาต่างๆ
                3. web accessible e-books
                    : ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้บนเว็ปไซต์ผ่านอินเตอร์เน็ท

                ตัวอย่างตัวแทนจำหน่าย e-books : NetLibrary, eBrary,Safari, OVID, Ebsco, American Psychological Association, ArtFL Oxford UP Reference, ecps


วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

OA Publishing : Gold OA :)


                Gold OA : เป็นการเปรียบเทียบว่าเป็นเส้นทางสีทองที่นำไปสู่ Open Access Publishing.
             
                Gold OA นั้นจัดเป็น Open Access อย่างแท้จริง คือผู้เขียนเป็นผู้จ่ายค่าตีพิมพ์ ส่วนผู้อ่านสามารถอ่านและเข้าถึงได้ฟรี และอ่านได้ฟรีบนอินเตอร์เน็ท ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ่น

                ลักษณะของ Gold OA

                1. ต้องเป็นวารสารวิชาการ
                2. ใช้กลไกในการควบคุมคุณภาพเช่นเดียวกับวารสารทั่วไป 
                3. ต้องเป็นวารสารดิจิทอล
                4. เปิดให้เข้าถึงได้อย่างสาธารณะ หรือเสรี
                5. อนุญาตให้ผู้เขียน retain copyright ได้ แต่ถ้าผู้เขียนไม่ต้องการก็สามารถใช้ licenses Public domain
                6. สามารถเลือกใช้ Creative commons หรือ licenses อื่นๆได้



                ประเภทของ Gold OA
   
                1. Born OA publisher เป็นวารสารที่ไม่เคยตีพิมพ์มาก่อน แต่คิดจะจัดทำให้วารสารนั้นเป็น OA จึงเรียกว่า Born-OA Publishers


                2. Conventional publisherมีการขายวารสาร แต่ก็มีนโยบายเปิดเป็น OA โดยสามารถนำวารสารมาทำเป็น OA ได้ แต่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทำด้วย เช่น Splinkerlink

                3. Non-traditional Publisher :  ม่มีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้ เป็นกลุ่มวารสารที่ไม่แสวงหาผลกำไร ซึ่งเปิดให้มีการจัดการแหล่งข้อมูลวารสารและระบบการเผยแพร่แบบสาธารณะ